โค้งวงกลม (Circular curve)
โค้งวงกลม(Circular curve) นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โค้งเดี่ยว (Simple curve) ส่วนที่จะนำไปใช้ในการออกแบบและก่อสร้าถนนคือแนวศูนย์กลาง(Center line) CAQBD ซึ่งการใส่โค้งวงกลมเพื่อหลีกเลี่ยงอุปสรรค เช่น สิ่งก่อสร้าง ภูเขา โดยการก่อสร้างจะเป็นไปตามหลักการทางเรขาคณิต เพื่อให้เกิดความสะดวกและปลอดภัยของยวดยาน
ส่วนประกอบต่างๆของโค้งวงกลม
ส่วนประกอบต่างๆของโค้งวงกลม
ความยาวของเส้นสัมผัส : T=Tangent
มุมเหหรือมุมสกัด : Δ = Defflection angle
I, IA =
Intersection angle
ระยะฉากกลางคอร์ด : M,MO = Mid-ordinate
ML = Middle ordinate length
ระยะกลางโค้งด้านนอก : E = External
distance
Lc = Length of circular curve
รัสมี : R = Radius
ค่าความโค้ง : 1/R
ระยะฉากกลางคอร์ด : M,MO = Mid-ordinate
ML = Middle ordinate length
ระยะกลางโค้งด้านนอก : E = External
distance
Lc = Length of circular curve
รัสมี : R = Radius
ค่าความโค้ง : 1/R
สูตรคำนวณ Circular curve
องศาโค้ง (Degree of Curve =D)
กรณีที่ 1 Arc Definition : R = 5729.57795/D
องศาโค้ง คือ จำนวนมุมที่จุศูนย์กลางที่รองรับโค้ง ยาวเท่ากับ 100เมตร เรียก Arc definition ความยาว 100เมตร เป็นความยาวมาตรฐานโค้ง (Standard curve)
กรณีที่ 2 Chord Definition : R = 5729.65067/D
องศาโค้ง คือ จำนวนมุมที่จุศูนย์กลางที่รองรับคอร์ด ยาวเท่ากับ 100เมตร ความยาว 100เมตรคือความยาวของคอร์คมาตรฐาน
ตารางความสัมพันธ์ V D R องศาโค้งที่ให้ความปลอดภัยที่สุด
มุมหักเห (Deflection Angle)
ระยะ STATION : PI, PC and PT
PC STA = PI STA-T
PT STA = PC STA+L
__________________________________________________________________________________________________
โค้งผสม (Compound curve)
โค้ง ที่ประกอบด้วยโค้ง
วงกลมหลายโค้งมาต่อกัน และจุดศูนย์กลางโค้งทั้งหมดจะอยู่ซีกเดียวกันของเส้น สัมผัส
และรัศมีของโค้งที่เชื่อมต่อกันจะยาวไม่เท่ากัน จุดที่ความยาวโค้ง ต่อกัน คือ Point of compound
curve (PCC) ส่วนสำคัญของโค้ง
ผสมคือมุมเหของโค้งร่วม (ΣΔi)
รัศมีของโค้งร่วม (Ri) เส้น สัมผัสเส้น ยาว/เส้น สั้น (TL/TS) และ Δ ของโค้ง ผสม
ประโยชน์ของโค้ง ผสม
1. ใช้ในนบริเวณที่เป็นภูเขาเพื่อปรับเส้นทางถนน ให้เข้ากับภูมิประเทศและเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการสัญจรโค้งผสมชนิด 2 ศูนย์กลาง (Two center compound curve)
ข้อมูลที่ทราบจากการสำรวจภาคสนาม
:
Δi ของแต่ละโค้ง ย่อยและค่า R ของแต่ละโค้ง ย่อย
การพิสูจน์สูตรโดยใช้ระบบพิกัดฉาก
__________________________________________________________________________________________________
โค้งกลับทิศทาง (Reversed curve)
โค้งกลับทิศทางต่อกันที่จุด PRC
ประเภทที่ 1 : รัศมียาวไม่เท่ากัน คำนวณเสมือนโค้ง
วงกลมสองวงต่อกัน
ประเภทที่ 2 :
รัศมียาวเท่ากันคำนวณหารัศมีที่ใช้กับทั้งสองโค้ง ได้ดังนี้
โค้งกลับทิศทางที่เส้นสัมผัสไม่ขนานกัน แต่รัศมีเท่ากัน
ประเภทที่ 1:
AB ได้ จากการวางแนว กําหนดมุม α,
β
หา Δ1และ Δ2
__________________________________________________________________________________________________
Transition
Spiral Curve
Transition Spiral Curve หรือโค้งก้นหอย เป็นโค้งราบ นิยมใช้กับถนนหรือทางรถไฟที่ต้องการให้ยวดยานเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ใช้แทนโค้งอันตราย (Sharp curve) ทางเลี้ยว ทางแยกต่างระดับ (Interchange) ทางแยก (Intersection) ช่วยให้คนขับสามารถค่อยๆ บังคับรถให้เลี้ยว ได้ง่ายในขณะที่ใช้ความเร็วสูง ทําให้รถไม่เสียหลัก
แนวคิดของTransition curve หรือ Spiral curve ทางเรขาคณิต